วันเสาร์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2556

16. ข้อจำกัดการวิจัย

16. ข้อจำกัดการวิจัย
https://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:wai  ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงข้อจำกัดการวิจัย เพื่อให้เข้าใจตรงกัน  ปกติดูจากคำสำคัญ (key word) ของชื่อเรื่อง
             http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q= ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงข้อจำกัดการวิจัย เป็นการระบุให้ทราบว่าการวิจัยที่จะศึกษามีขอบข่ายกว้างขวางเพียงใด เนื่องจากผู้วิจัยไม่สามารถทำการศึกษาได้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุมของปัญหานั้น จึงต้องกำหนดขอบเขตของการศึกษาให้แน่นอน ว่าจะครอบคลุมอะไรบ้าง ซึ่งอาจทำได้โดยการกำหนดขอบเขตของเรื่องให้แคบลงเฉพาะตอนใดตอนหนึ่งของสาขาวิชา หรือกำหนดกลุ่มประชากร สถานที่วิจัย หรือระยะเวลา
นงลักษณ์ วิรัชชัย ( http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~jaimorn/re7.htm )ได้รวบรวมแล้วกล่าวถึงข้อจำกัดของการวิจัย(Limitationเป็นข้อคาดการณ์บางสิ่งที่อาจเกิดขึ้นโดยบังเอิญ และไม่อาจควบคุมได้ในงานวิจัย เช่น ข้อมูล แหล่งข้อมูล วิธีการที่ผู้วิจัยไม่สามารถควบคุมได้ในการวิจัย ทำให้การศึกษานั้นไม่สำเร็จตามจุดมุ่งหมาย
สรุป        ข้อจำกัดในการวิจัย คือ ความคาดเคลื่อนที่เกิดขึ้นเองในการวิจัย โดยผู้วิจัยไม่สามารถควบคุม หลีกเลี่ยงได้ และสิ่งนั้นมีอิทธิพลต่อข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลทำให้การวิจัยได้ผลไม่สมบูรณ์
อ้างอิง
https://docs.google.com/viewer?a=v&q=cache:wai สืบค้นเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2555.
                http://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&qสืบค้นเมื่อวันที่ 29 ธันวาคม 2555.
นงลักษณ์ วิรัชชัย. ( 2537 ). จากสาส์นการวิจัย ฝ่ายวิจัย คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 2 ฉบับที่ 5, http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~jaimorn/re7.htm.

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น